โรคเบาหวาน ภัยร้ายคร่าชีวิตคนไทยปีละกว่า 8,000 คน มีจำนวนผู้ป่วยพุ่งสูงอย่างต่อเนื่องทุกปี พบว่าคนรุ่นใหม่มีโอกาสเป็นเบาหวานสูงขึ้นจากพฤติกรรมการกินและใช้ชีวิตประจำวันที่เปลี่ยนไป ที่น่ากังวลคือ พบผู้ป่วยเป็นเบาหวานได้ตั้งแต่เด็กเล็กและวัยเรียน เบาหวานที่เกิดในคนหนุ่มสาวนั้นมีความรุนแรงกว่าวัยกลางคนและผู้สูงอายุ ซึ่งหลายคนยังไม่รู้ตัวด้วยซ้ำว่ากำลังป่วยอยู่ หากดูแลรักษาไม่ดีอาจทำให้เกิดภาวะแทรกซ้อนได้ มาทำความเข้าใจโรคเบาหวานกันสักนิด เพื่อเป็นแนวทางในการป้องกัน และลดความรุนแรงของอาการแทรกซ้อนจากโรคได้
โรคเบาหวาน คืออะไร
โรคที่เกิดจากความผิดปกติของการทำงานของฮอร์โมนที่ชื่อว่า “อินซูลิน” ร่างกายไม่สามารถนำน้ำตาลไปใช้งานได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่ว่าจะเป็นการที่ร่างกายผลิตฮอร์โมนอินซูลินไม่เพียงพอ หรือการที่อวัยวะต่างๆของร่างกายตอบสนองต่ออินซูลินลดลง (ภาวะดื้ออินซูลิน) ทำให้ระดับน้ำตาลในเลือดสูงขึ้น หากปล่อยให้เกิดภาวะเช่นนี้โดยที่ไม่ได้รับการรักษา ในระยะยาวจะส่งผลให้เกิดการทำลายหลอดเลือด อวัยวะต่างๆ เสื่อม และนำไปสู่ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวานที่รุนแรงมากขึ้น
โรคเบาหวานมีกี่ชนิด สาเหตุเกิดจากอะไร
โรคเบาหวานมีหลายประเภท ขึ้นอยู่กับว่าจัดตามประเภทอะไร หรือสาเหตุจากอะไร โดยส่วนใหญ่แบ่งออกเป็น 4 ประเภท คือ
- เบาหวานชนิดที่ 1 มักพบในเด็ก เป็นตั้งแต่กำเนิด ร่างกายไม่สามารถสร้างอินซูลินได้เลย ทำให้เกิดภาวะขาดอินสุลิน
- เบาหวานชนิดที่ 2 มักพบในคนส่วนใหญ่ เกิดจากร่างกายผลิตอินซูลินไม่เพียงพอกับความต้องการ หรือร่างกายมีการดื้ออินซูลิน
- เบาหวานที่เกิดกับคุณแม่ระหว่างตั้งครรภ์ เนื่องจากการเปลี่ยนแปลงของฮอร์โมน
- เบาหวานที่มีความผิดปกติ หรือเกิดจากสาเหตุอื่น เช่น ความผิดปกติของฮอร์โมน ยาหรือสารเคมีบางอย่างไปรบกวนการทำงานของอินซูลิน ทำงานได้ไม่มีประสิทธิภาพ
กว่า 80% ของผู้ป่วยเป็นเบาหวานชนิดที่ 2 หากพ่อแม่ป่วยเป็นโรคนี้ ก็มีโอกาสเสี่ยงสูงที่จะเกิดขึ้นได้เช่นกัน อีกสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากพฤติกรรมในการใช้ชีวิต รับประทานอาหารมีแคลอรี่สูง น้ำตาลสูง และไม่ออกกำลังกาย รวมถึงความเครียดและนอนพักผ่อนไม่เพียงพอ
ภาวะแทรกซ้อนของโรคเบาหวาน มีอะไรบ้าง
- ภาวะแทรกซ้อนทางตา
หรือที่เรียกกันว่า “เบาหวานขึ้นตา” พบบ่อยที่สุด สามารถพบได้เป็นจำนวนถึง 1 ใน 3 ของผู้ที่เป็นโรคเบาหวาน ภาวะน้ำตาลในเลือดสูงเรื้อรังส่งผลทำให้เกิดจอประสาทเสื่อม ทำลายระบบประสาทของดวงตา
- ภาวะแทรกซ้อนทางไต
ไตทำงานหนักเนื่องจากน้ำตาลในเลือดสูง ส่งผลให้แรงดันเลือดที่ไตสูงตามไปด้วย เส้นเลือดอาจเปราะหรือแตกหักง่าย ทำให้ของเหลวไหลออกเกิดภาวะไตวายได้
- ภาวะเกิดแผล
เพราะระดับน้ำตาลที่เพิ่มมากขึ้นในเส้นเลือด เป็นอาหารชั้นดีของแบคทีเรีย รวมถึงไขมันและน้ำตาลไปจับกับเส้นเลือด ส่งผลให้เส้นเลือดตีบและอุดตันในที่สุด หากระบบประสาทรับความรู้สึกเสื่อม กว่าจะรู้ตัวแผลก็ลุกลามไปมากแล้ว ทำให้รักษายาก แผลหายช้า
แชร์ประสบการผู้ป่วยเบาหวาน รักษาด้วยการทานสมุนไพร พลูคาว ขมิ้นชัน มะขามเทศ Navtra life
แผลเบาหวานที่เท้า ภาวะแทรกซ้อนที่พบมากที่สุดในผู้ป่วยเบาหวานที่ควบคุมระดับน้ำตาลได้ไม่ดีเท่าที่ควร เมื่อเกิดบาดแผลแล้วหายยาก หากมีการติดเชื้อรุนแรง ไม่ได้รับการรักษาอย่างทันท่วงที อาจต้องถูกตัดเท้า หรืออวัยวะส่วนนั้นๆ ที่เกิดแผล ซึ่งผู้ป่วยสามารถป้องกันหรือชะลอการเกิดโรคแทรกซ้อนได้ โดยการควบคุมระดับน้ำตาลในเลือด และปฏิบัติตามคำแนะนำของแพทย์
อีกหนึ่งตัวช่วยดีๆ อย่าง Navtra Life สมุนไพรอาหารเสริมทางเลือกของผู้ป่วยเบาหวาน สกัดจากสมุนไพรแท้ 100% หลายคนที่ได้ทานยอมรับว่าได้ผลดีในการบรรเทาโรคนี้ ประกอบด้วยสารสกัดจาก “พลูคาว” มีคุณสมบัติหลายด้าน เช่น ปรับสมดุลระบบภูมิคุ้มกัน ปรับสมดุลการทำงานของฮอร์โมนอินซูลิน ลดภาวะการอักเสบต่างๆ ในร่างกาย
สารเคอร์คามิล ที่อยู่ใน “ขมิ้นชัน” มีการวิจัยค้นพบว่า ผู้ป่วยที่มีประวัติโรคเบาหวาน ซึ่งมีแผลที่เท้าหรือมีแผลหายยาก สารเคอร์คามิลจะเข้าไปช่วยทำให้ระบบภูมิคุ้มกัน ที่มีหน้าที่สมานแผล ให้แผลหายเร็วขึ้น
เคสที่ 1 ผู้ป่วยเบาหวานเพศหญิง
ป่วยเป็นเบาหวานมานานกว่า 10 ปี มีอาการวิงเวียน ไม่มีเรี่ยวแรง ปวดเมื่อยตามตัว ไม่รู้สึกอยากทำอะไร เหงื่อออกเยอะ ปัสสาวะวันละกว่า 10 รอบ กลางคืนแทบไม่ได้นอน ระดับน้ำตาลในเลือดสูงถึง 400 mg/dL ในช่วงแรกที่ทาน Navtra Life ระดับน้ำตาลลดลงเหลือ 300 mg/dL และลดลงเรื่อยๆ จนเหลือ 110 mg/dL รู้สึกว่าอาการต่างๆ เริ่มดีขึ้น ใช้ชีวิตได้ตามปกติ ไม่ต้องทรมานกับการนอนไม่หลับกลางดึกอีกต่อไป
เคสที่ 2 ผู้ป่วยเบาหวานและความดันโลหิตสูง
มีอาการเหนื่อย รู้สึกอ่อนเพลีย มีอาการบวมที่ขาและเท้า นอนไม่ค่อยหลับ ตื่นนอนแล้วไม่สดชื่น รู้สึกแสบบริเวณยอดอก เป็นผลจากอาการข้างเคียงของยารักษาโรคเบาหวาน จนมีโอกาสได้ลองทาน Navtra Life อย่างแรกที่รู้สึกได้คือ ตื่นเช้ามาก็สดชื่น ไม่รู้สึกงัวเงีย อาการบวมน้ำลดลง อาการปวดแสบท้องตอนนอนก็หายไป อาการเหนื่อยเพลียก็เริ่มดีขึ้น สามารถออกไปทำกิจวัตรประจำวันได้ตามปกติ
เคสที่ 3 ผู้ป่วยเบาหวานและความดัโลหิตสูง
ระดับน้ำตาลในเลือดสูงถึง 380 mg/dL มีอาการชาที่มือและเท้า ปัสสาวะบ่อยมาก เหงื่อออกเยอะ วิงเวียนศีรษะ ทานอาหารได้น้อยลง พอได้ลองทาน Navtra Life วันละ 1 เม็ดก่อนอาหารเช้า ติดต่อกันระยะนึง จากที่รู้สึกชาบริเวณมือและเท้าตลอดเวลา อาการชาเริ่มน้อยลงเหลือไม่กี่ครั้งต่อวัน ปัสสาวะลดลง เหงื่อออกน้อยลง ทานอาหารได้มากขึ้น นอนหลับสนิทขึ้น
เป็น “เบาหวานไม่ต้องตัดขา” เสมอไป การดูแลสุขภาพของผู้ป่วยเบาหวาน จะหวังพึ่งยาเพียงอย่างเดียวไม่ได้ ต้องเริ่มจากปรับพฤติกรรมการใช้ชีวิต รู้จักเลือกทานอาหารให้เหมาะสม ออกกำลังกายสม่ำเสมอ ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดให้ดี และควบคุมปัจจัยเสี่ยงต่างๆ เพื่อป้องกันไม่ให้เกิดภาวะแทรกซ้อน ส่งผลให้สูญเสียคุณภาพชีวิต และเสียค่าใช้จ่ายในการรักษามากมายอีกด้วย
Add Comment